Custom Search

วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วงจรกันขโมยแบบสัมผัส

วงจรกันขโมยแบบสัมผัส

     วงจรกันขโมยแบบสัมผัส  ชุดนี้เป็นวงจรขนาดเล็กการใช้งานโดยส่วนมากจะนำวงจรนี้ไปคล้องที่ลูกบิดประตูหรืออาจจะดัดแปรงไปอย่างอื่นก็ได

       ข้อมูลทางด้านเทคนิค:

       -ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9 V DC

        -กินกระแสสูงสุดประมาณ 50 มิลลิแอมป์(ขณะทำงาน)

       -ขนาดแผ่นวงจรพิมพ์: 2.60x1.90 นิ้ว

การทำงานของวงจร:

TR1  ต่อการทำงานร่วม  L1 กำเนิดความถี่สูงขึ้น  โดยความถี่สูงขึ้นนี้จะส่งผ่าน C1 ขามา TR2 เพื่อทำการขยายสัญญาณความถี่สูงให้แรงขึ้นในสภาวะปกติที่ยังไม่สัมผัสที่จุด T ที่ขาC ของ TR2 จะมีไฟต่ำ IC1/1 ทำหน้าที่เป็นบัฟเฟอร์  ส่งเข้า  IC1/2  เพื่อเป็นการเปรียบเทียบสัญญาณจาก  IC1/1  และขา 6 เมือมีการสัมผัสที่จุด T ทำให้TR1 หยุดออสซิเลท  ดังนั้นที่ขา C ของ  TR2               จะมีไฟสูง แรงไฟนี้นี้จะส่งผ่าน IC1/1  ออกทางขา 1 เข้ามาทางขา 5 ของ IC1/2 เพื่อทำการเปรียบเทียบแรงไฟ  ถ้าขา 5 มีแรงไฟสุงกว่าขา 6 จะทำให้ขา 7 มีไฟสูง แรงไฟที่ขา 7 จะส่งผ่าน D2 เข้ามาขา 9 ของ IC1/3  และชาร์ทเข้าขา C5 เมื่อขา 9 มีไฟสูงกว่าขา 10 จึงทำให้ขา 8 ไม่มีไฟ IC ¼ จึงทำให้ออสชิเลทส่งผ่าน R3ไปยัง TR3เพื่อทำการขยายสัญญาณออกลำโพงต่อไป เมื่อเราสัมผัสจุด T แล้วปล่อยเสียงที่ลำโพงก็จะดังอยู่พักหนึ่ง  ซึ่งเสียงดังหลังจากการสัมผัสนี้ได้มาจากแรงไฟจาก C5  ที่เก็บประจุในตอนแรก เมื่อขา 7 ไม่มีไฟ แรงไฟที่ C5 ก็ยังมีอยู่และจะดิสชาร์ทผ่านทาง R8                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                   การประกอบวงจร:                                                                                                                              รูปการลงอุปกรณ์และการต่ออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 3 ในการประกอบวงจรควรจะประกอบควรจะประกอบจากอุปกรณ์ที่มีความสูงน้อยที่สุดก่อนเพื่อความสวยงามและการประกอบที่ง่ายโดยเริ่มจากไดโอดตามด้วยตัวต้านทานและไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สำหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ ควรใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจรก่อนการใส่อุปกรณ์เหล่านี้ จะต้องให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพ์กับตัวอุปกรณ์ให้ตรงกัน เพราะถาหากสลับขั้วแล้วอาจจะทำให้อุปกรณ์หรือแผ่นวงจรเสียหายได้วิธีการดูขั้วและใส่อุปกรณ์นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 1 แล้ว ในการบัดกรีควรใช้หัวแร้งไม่เกิน 40 W และใช้ตะกั่วที่มีอัตราส่วนของดีบุกและตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 ร่วมทั่งจะต้องมีน้ำยาประสานอยู่ในตะกั่วด้วย  หลังจากที่ใส่อุปกรณ์และบัดกรีเรียบร้อยแล้วให้ทำการตรวจสอบความถูกต้องอีกครั่งหนึ่งเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น

กับลายวงจรพิมพ์ได้สำหรับจุด T ให้ใช้สายไฟที่ปลอกสายแล้วจากนั้นให้ทำเป็นวงกลมเพื่อที่จะได้คล่องกับลูกบิดประตูต้านปลายให้นำมาบัดกรีที่จุด T                                                                                                                                                                                                      

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

งบประมาณในการดำเนินการ

  1. ชุดคิดสัญญาณกันขโมยแบบสัมผัส                                 169   บาท
  2. กล่องใส่ชุดสัญญาณกันขโมย                                           25     บาท
  3. ลำโพง                                                                               135   บาท
  4. แบตเตอร์รี่ขนาด 9V                                                         45      บาท
  5. เอกสาร                                                                             50       บาท     

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำนำ

เนื่องจากปัจจุบันนี้เศรษฐกิจไม่ดีจึงเกิดปัญหามากมายตามมาไม่ว่าการตกงาน  ในเมื่อคนตกงานมากจึงก่อให้เกิดการขโมยการลักทรัพย์เราจึงนำเอาสัญญาณกันขโมยระบบสัมผัสเมื่อมีขโมยมาสัมผัสกับลูกบิดประตูจะทำงานทันที่ดังนั้นทางคณะผู้จัดทำจึงเลือกเอาอุปกรณ์นี้มาเป็นทางเลือกในการป้องทรัพย์สินของตัวเอง

                                                                                                                                                         จัดทำโดย

                                                                                                                                                      คณะผู้จัดทำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สารบัญ

 

                                   คำนำ                                                                             1

                                   สารบัญ                                                                          2

                                   วงจรกันขโมย                                                                  3

                                   รูปแบบวงจร                                                                    5

                                  งบประมาณ                                                                      6

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมาชิกในกลุ่ม

  1. นาย  เอกรินทร์        ละมั่งทอง          ปวส. 2/4
  2. นาย   อภิชาติ          บาลี                    ปวส. 2/4
  3. นาย   วิทูล              กายไธสงค์          ปวส. 2/4
  4. นาย   นิรัณ            รูปสูง                    ปวส. 2/4
  5. นาย    ชาตรี            เวียงจันทร์ดา      ปวส. 2/4
  6. นาย    วีระศักดิ์       ก้อนคำ                ปวส. 2/4
  7. นาย   ธีระพงษ์        นากึก                  ปวส. 2/4
  8. นาย  เอกลักษณ์       อดทน                 ปวส. 2/4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


н°

 

 

 

 

 

รายงานวงจรกันขโมยแบบสัมผัส

 

 

สาขาช่างไฟฟ้า

 

 

โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขางานไฟฟ้าติดตั้ง ประเภทวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง

โรงเรียนเทคโนโลยีพลพณิชยการ  อำเภอพล   จังหวัดขอนแก่น