จำนวนเชิงซ้อน
บทนำ
จำนวนจินตภาพ i สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาของสมการ x2 = -1 โดยกำหนดว่า i2 = -1
ดังนั้น i2 = -1, i3 = -i, i4 = -1 หรือ i4n = 1, i4n + 1 = 1, i4n + 2 = 1, i4n + 3 = 1
ข้อควรจำ i4n + i4n + 1 + i4n + 2 + i4n + 3 = 0
เรื่องทั่วๆไปของจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน คือ จำนวนที่เขียนอยู่ในรูป a + bi เมื่อ a, b Î R หรือ C = {x| x = a + bi, a, b Î R} และมีสมบัติดังนี้
1. การเท่ากัน a + bi = c + di ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
2. การบวก (a + bi) + (c + di) = (a + c) + (b + d)i
3. การคูณ (a + bi) . (c + di) = (ac - db) . (ad + bc)i
จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi อาจเขียนอีกรูปแบบหนึ่งคือ (a, b)
· เรียก a ว่า ส่วนจริง (real part) ของ z เขียนแทนด้วย Re(z)
· เรียก b ว่า ส่วนจิตภาพ (imaginary part) ของ z เขียนแทนด้วย Im(z)
· ถ้า b = 0 แล้ว จะได้จำนวนจริง a นั่นเองกล่าวคือ R Ì C
· ถ้า a = 0 แล้ว จะได้จำนวนจินตภาพ bi เรียกว่า จำนวนจิตภาพแท้ (pure imaginary number)
· พิจารณา (bi)(di) = -bd นั่นคือ ผลคูณของจำนวนจินตภาพแท้สองจำนวนได้จำนวนจริงเสมอ
จำนวนเชิงซ้อนระนาบ เขียนได้ 2 แบบ
เมื่อแกน X คือ แกนจริง, แกน Y คือ แกนจินตภาพ
X |
Y |
.(a,b) |
X |
Y |
.(a,b) |
สมบัติของระบบจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ z = (a, b) = a + bi
1. สมบัติปิดของการบวก z1, z2 Î C ดังนั้น z1 + z2 Î C
2. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้องการบวก z1, z2, z3 Î C ดังนั้น (z1 + z2) + z3 = z1 + (z2 + z3)
3. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก คือ (0, 0)
4. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวก คือ (-a, -b) เป็นอินเวอร์สการบวกของ (a, b); z + (-z) = 0 + 0i = (-z) + z
5. สมบัติการสลับที่ของการบวก z1, z2 Î C ดังนั้น z1 + z2 = z2 + z1
6. สมบัติปิดของการคูณ คือ z1, z2 Î C ดังนั้น z1z2 Î C
7. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณ คือ , (a, b) ≠ (0, 0) เป็นอินเวอร์สการคูณของ (a, b)
o ถ้า z = a + bi อินเวอร์สการคูณของ
o z-1 = . = =
o z . z-1 = 1 + 0i = z-1 . z
8. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ z1, z2, z3 Î C ดังนั้น (z1z2)z3 = z1(z2z3)
9. สมบัติการมีเอกลักษณ์การคูณ คือ (1, 0)
10. สมบัติการสลับที่การคูณ z1, z2 Î C ดังนั้น z1z2 = z2z1
11. สมบัติการแจกแจง z1, z2, z3 Î C ดังนั้น z1(z2 + z3) = z1z2 + z1z3
ค่าสัมบูรณ์ และสังยุค
ค่าสัมบูรณ์ (Absolute value) ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi เขียนแทนด้วย
โดย
ดังนั้นค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือ ระยะทางจากจุด (0, 0) ถึงจุด (a, b)
สังยุค (Conjugate) ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือ a – bi เขียนแทนด้วย
ผลคูณของ z กับ ใดๆ จะได้จำนวนจิงบวกหรือศูนย์เสมอ
สมบัติของสังยุกคและค่าสัมบูรณ์
· ก็ต่อเมื่อ z เป็นจำนวนจริงเท่านั้น และ เสมอ
· และ
· และ เสมอ เมื่อ n Î I+
·
· และ
· และ
· มากกว่าหรือเท่ากับศูนย์เสมอและ
·
การเปรียบเทียบจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า z1 = a + bi, b ≠ 0 และ z2 = c + di, d ≠ 0 แล้วเราไม่อาจเปรียบเทียบได้ว่าจำนวนใดมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน เช่น เราบอกไม่ได้ว่า 3 + 4i มากกว่าหรือน้อยกว่า 2 + 2i บอกได้แต่เพียงว่า
บทประยุกต์ของค่าสัมบูรณ์ในเชิงกราฟ
กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = x + yi เมื่อ x, y Î R ถ้า r, h และ k เป็นจำนวนจริงแล้ว
1. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0, 0) และรัศมีเท่ากับ r
2. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (h, 0) และรัศมีเท่ากับ r
3. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0, k) และรัศมีเท่ากับ r
4. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (h, k) และรัศมีเท่ากับ r
X |
Y |
Z(a,b) |
q |
0 |
การแทนจำนวนเชิงซ้อนในรูปพิกัดเชิงขั้ว
ให้ z = a + b โดยที่ z ≠ 0 เขียนแทน z ด้วยเวกเตอร์บนระนาบเชิงซ้อนได้ดังนี้
เมื่อกำหนดให้ q เป็นมุมบวกที่เล็กที่สุดที่วัดทวนเข็มนาฬิกาจากแกน X ทางด้านบวกไปยัง และให้ r =
r = =
tan q = b/a
sin q = b/r หรือ b = r sin q
cos q = a/r ฟรือ a = r cos q
จาก z = a + bi = r cos q + ri sin q = r(cos q + i sin q)
จะได้ว่า r[cos (q + 2kπ) + i sin (q + 2kπ)] เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม
การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนรูปเชิงขั้ว
กำหนด z1 = r1(cos q1 + i sin q1) และ z2 = r2(cos q2 + i sin q2)
1. z1.z2 = r1r2[cos(q1 + q2) + i sin(q1 + q2)]
2. = [cos(q1 - q2) + i sin(q1 - q2)], z2 ≠ 0
ทฤษฎีบทของเดอมัวฟ์ (De Moivre’s Theorem)
กำหนด z = r(cos q + i sin q) และ n เป็นจำนวนเต็มบวก
zn = rn(cos q + i sin q)
รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
1. ให้ x และ z เป็นจำนวนเชิงซ้อน และ n เป็นจำนวนเต็มบวก x เป็นรากที่ n ของ z ก็ต่อเมื่อ xz = n
2. ถ้า z = r(cos q + i sin q), z ≠ 0 แล้วรากที่ n ของ z มีทั้งหมด n รากที่แตกต่างกันคือ
เมื่อ k Î {0, 1, 2, 3,…,(n - 1)}
สมการพหุนามตัวแปรเดียว
สมการพหุนามกำลัง n ตัวแปรเดียว คือ สมการที่อยู่ในรูป
anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0
เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก และ a0, a1, …, an เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0
ทฤษฎีบท
หลักมูลทางพีชคณิต (The Fomdamental therem of algebra) สำหรับสมกาพหุนามกำลัง n ตัวแปรเดียว เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก จะมีรากของสมการอย่างน้อย 1 ราก
ทฤษฎีบทเศษเหลือ
เมื่อ f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก; an, an - 1, an – 2, …, a1, a0 เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0 ถ้าหารพหุนาม f(x) ด้วยพหุนาม x – c เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ แล้วจะได้เศษที่เหลือจากการหารนั้นเท่ากับ f(c)
ทฤษฎีบทตัวประกอบ
f(x) เป็นพหุนามกำลัง n จะมี x – c เป็นตัวประกอบได้ก็ต่อเมื่อ f(c) = 0
ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
f(x) เป็นพหุนามกำลัง n ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มถ้า เป็นตัวประกอบของพหุนาม f(x) โดยที่ k และ m เป็นจำนวนเต็มซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ an และ k จะเป็นตัวประกอบของ a0
สมการพหุนามกำลัง n
anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0
เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก an, an - 1, an – 2, …, a1, a0 เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0 ถ้า a + bi เป็นคำตอบของสมการด้วย เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงโดยที่ b ≠ 0
จำนวนเชิงซ้อน
บทนำ
จำนวนจินตภาพ i สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาของสมการ x2 = -1 โดยกำหนดว่า i2 = -1
ดังนั้น i2 = -1, i3 = -i, i4 = -1 หรือ i4n = 1, i4n + 1 = 1, i4n + 2 = 1, i4n + 3 = 1
ข้อควรจำ i4n + i4n + 1 + i4n + 2 + i4n + 3 = 0
เรื่องทั่วๆไปของจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน คือ จำนวนที่เขียนอยู่ในรูป a + bi เมื่อ a, b Î R หรือ C = {x| x = a + bi, a, b Î R} และมีสมบัติดังนี้
1. การเท่ากัน a + bi = c + di ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
2. การบวก (a + bi) + (c + di) = (a + c) + (b + d)i
3. การคูณ (a + bi) . (c + di) = (ac - db) . (ad + bc)i
จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi อาจเขียนอีกรูปแบบหนึ่งคือ (a, b)
· เรียก a ว่า ส่วนจริง (real part) ของ z เขียนแทนด้วย Re(z)
· เรียก b ว่า ส่วนจิตภาพ (imaginary part) ของ z เขียนแทนด้วย Im(z)
· ถ้า b = 0 แล้ว จะได้จำนวนจริง a นั่นเองกล่าวคือ R Ì C
· ถ้า a = 0 แล้ว จะได้จำนวนจินตภาพ bi เรียกว่า จำนวนจิตภาพแท้ (pure imaginary number)
· พิจารณา (bi)(di) = -bd นั่นคือ ผลคูณของจำนวนจินตภาพแท้สองจำนวนได้จำนวนจริงเสมอ
จำนวนเชิงซ้อนระนาบ เขียนได้ 2 แบบ
เมื่อแกน X คือ แกนจริง, แกน Y คือ แกนจินตภาพ
X |
Y |
.(a,b) |
X |
Y |
.(a,b) |
สมบัติของระบบจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ z = (a, b) = a + bi
1. สมบัติปิดของการบวก z1, z2 Î C ดังนั้น z1 + z2 Î C
2. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้องการบวก z1, z2, z3 Î C ดังนั้น (z1 + z2) + z3 = z1 + (z2 + z3)
3. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก คือ (0, 0)
4. สมบัติการมีอินเวอร์สการบวก คือ (-a, -b) เป็นอินเวอร์สการบวกของ (a, b); z + (-z) = 0 + 0i = (-z) + z
5. สมบัติการสลับที่ของการบวก z1, z2 Î C ดังนั้น z1 + z2 = z2 + z1
6. สมบัติปิดของการคูณ คือ z1, z2 Î C ดังนั้น z1z2 Î C
7. สมบัติการมีอินเวอร์สการคูณ คือ , (a, b) ≠ (0, 0) เป็นอินเวอร์สการคูณของ (a, b)
o ถ้า z = a + bi อินเวอร์สการคูณของ
o z-1 = . = =
o z . z-1 = 1 + 0i = z-1 . z
8. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ z1, z2, z3 Î C ดังนั้น (z1z2)z3 = z1(z2z3)
9. สมบัติการมีเอกลักษณ์การคูณ คือ (1, 0)
10. สมบัติการสลับที่การคูณ z1, z2 Î C ดังนั้น z1z2 = z2z1
11. สมบัติการแจกแจง z1, z2, z3 Î C ดังนั้น z1(z2 + z3) = z1z2 + z1z3
ค่าสัมบูรณ์ และสังยุค
ค่าสัมบูรณ์ (Absolute value) ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi เขียนแทนด้วย
โดย
ดังนั้นค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือ ระยะทางจากจุด (0, 0) ถึงจุด (a, b)
สังยุค (Conjugate) ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือ a – bi เขียนแทนด้วย
ผลคูณของ z กับ ใดๆ จะได้จำนวนจิงบวกหรือศูนย์เสมอ
สมบัติของสังยุกคและค่าสัมบูรณ์
· ก็ต่อเมื่อ z เป็นจำนวนจริงเท่านั้น และ เสมอ
· และ
· และ เสมอ เมื่อ n Î I+
·
· และ
· และ
· มากกว่าหรือเท่ากับศูนย์เสมอและ
·
การเปรียบเทียบจำนวนเชิงซ้อน
ถ้า z1 = a + bi, b ≠ 0 และ z2 = c + di, d ≠ 0 แล้วเราไม่อาจเปรียบเทียบได้ว่าจำนวนใดมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน เช่น เราบอกไม่ได้ว่า 3 + 4i มากกว่าหรือน้อยกว่า 2 + 2i บอกได้แต่เพียงว่า
บทประยุกต์ของค่าสัมบูรณ์ในเชิงกราฟ
กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = x + yi เมื่อ x, y Î R ถ้า r, h และ k เป็นจำนวนจริงแล้ว
1. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0, 0) และรัศมีเท่ากับ r
2. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (h, 0) และรัศมีเท่ากับ r
3. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0, k) และรัศมีเท่ากับ r
4. หมายถึงสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (h, k) และรัศมีเท่ากับ r
การแทนจำนวนเชิงซ้อนในรูปพิกัดเชิงขั้ว
ให้ z = a + b โดยที่ z ≠ 0 เขียนแทน z ด้วยเวกเตอร์บนระนาบเชิงซ้อนได้ดังนี้
X |
Y |
Z(a,b) |
q |
0 |
เมื่อกำหนดให้ q เป็นมุมบวกที่เล็กที่สุดที่วัดทวนเข็มนาฬิกาจากแกน X ทางด้านบวกไปยัง และให้ r =
r = =
tan q = b/a
sin q = b/r หรือ b = r sin q
cos q = a/r ฟรือ a = r cos q
จาก z = a + bi = r cos q + ri sin q = r(cos q + i sin q)
จะได้ว่า r[cos (q + 2kπ) + i sin (q + 2kπ)] เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม
การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนรูปเชิงขั้ว
กำหนด z1 = r1(cos q1 + i sin q1) และ z2 = r2(cos q2 + i sin q2)
1. z1.z2 = r1r2[cos(q1 + q2) + i sin(q1 + q2)]
2. = [cos(q1 - q2) + i sin(q1 - q2)], z2 ≠ 0
ทฤษฎีบทของเดอมัวฟ์ (De Moivre’s Theorem)
กำหนด z = r(cos q + i sin q) และ n เป็นจำนวนเต็มบวก
zn = rn(cos q + i sin q)
รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
1. ให้ x และ z เป็นจำนวนเชิงซ้อน และ n เป็นจำนวนเต็มบวก x เป็นรากที่ n ของ z ก็ต่อเมื่อ xz = n
2. ถ้า z = r(cos q + i sin q), z ≠ 0 แล้วรากที่ n ของ z มีทั้งหมด n รากที่แตกต่างกันคือ
เมื่อ k Î {0, 1, 2, 3,…,(n - 1)}
สมการพหุนามตัวแปรเดียว
สมการพหุนามกำลัง n ตัวแปรเดียว คือ สมการที่อยู่ในรูป
anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0
เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก และ a0, a1, …, an เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0
ทฤษฎีบท
หลักมูลทางพีชคณิต (The Fomdamental therem of algebra) สำหรับสมกาพหุนามกำลัง n ตัวแปรเดียว เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก จะมีรากของสมการอย่างน้อย 1 ราก
ทฤษฎีบทเศษเหลือ
เมื่อ f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก; an, an - 1, an – 2, …, a1, a0 เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0 ถ้าหารพหุนาม f(x) ด้วยพหุนาม x – c เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใดๆ แล้วจะได้เศษที่เหลือจากการหารนั้นเท่ากับ f(c)
ทฤษฎีบทตัวประกอบ
f(x) เป็นพหุนามกำลัง n จะมี x – c เป็นตัวประกอบได้ก็ต่อเมื่อ f(c) = 0
ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
f(x) เป็นพหุนามกำลัง n ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มถ้า เป็นตัวประกอบของพหุนาม f(x) โดยที่ k และ m เป็นจำนวนเต็มซึ่ง m ≠ 0 และ ห.ร.ม. ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ an และ k จะเป็นตัวประกอบของ a0
สมการพหุนามกำลัง n
anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 = 0
เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก an, an - 1, an – 2, …, a1, a0 เป็นจำนวนจริงที่ an ≠ 0 ถ้า a + bi เป็นคำตอบของสมการด้วย เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงโดยที่ b ≠ 0