สาธารณรัฐประชาชนจีน
ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ส่วนใหญ่ ที่ชาวตะวันตกเรียกรวม ๆ ว่า China (จีน) ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีนฮั่น จีนเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออก และมีขนาดเป็นอันดับ 3 ของโลก เป็นรองเพียงรัสเซียและ แคนาดา
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีพรมแดนติดกับ 15 ประเทศ (นับเวียนตามเข็มนาฬิกา) คือ เวียดนาม ลาว พม่า อินเดีย ภูฏาน สิกขิม เนปาล ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีร์กีซสถาน คาซัคสถาน รัสเซีย มองโกเลีย และ เกาหลีเหนือ
ตั้งแต่ก่อตั้งสาธารณรัฐเมื่อปี พ.ศ. 2492 ประเทศจีนอยู่ภายใต้การปกครองของพรรคคอมมิวนิสต์จีน สาธารณรัฐประชาชนจีนอ้างอธิปไตยเหนือเกาะไต้หวัน เกาะเผิงหู เกาะเอ้หมึง (จีนกลาง: จินเหมิน) และหมู่เกาะม้าซู้ (จีนกลาง: หมาจู่) แต่ไม่ได้ปกครอง โดยที่เกาะเหล่านี้ปกครองโดยสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงไทเป (จีนกลาง: ไถเป่ย) ฐานะทางการเมืองของสาธารณรัฐจีนนั้น ยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่
คำว่า จีนแผ่นดินใหญ่ ใช้เรียกส่วนของจีน ที่อยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน (ส่วนใหญ่จะยกเว้นเขตบริหารพิเศษ 2 แห่ง คือ ฮ่องกง และมาเก๊า) บางคนนิยมเรียกสาธารณรัฐประชาชนจีนว่า จีนแดง (Red China) โดยเฉพาะผู้ที่วิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับจีน ปัจจุบันสาธารณรัฐประชาชนจีนและ ประเทศญี่ปุ่นเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคเอเชีย มีเศรษฐกิจและกำลังทางทหารใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย
ตารางแสดงช่วงเวลาของราชวงศ์และยุคในประวัติศาสตร์จีน
· ก่อนประวัติศาสตร์ ราว 3 ล้านปี – ปี 2100 ก่อน ค.ศ.
· ราชวง· ศ์เซี่ย (夏) ราวปี 2100 – 1600 ก่อน ค.ศ. ราว 500 ปี
· ราชวง· ศ์ซาง· (商) ราวปี 1600 - 1028 ก่อน ค.ศ. ราว 550 ปีขึ้นไป
· ราชวง· ศ์โจว (周 ) ราวปี 1027 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 770 ปี แยกได้เป็น
· โจวตะวันตก (西周) ราวปี 1027 – 771 ก่อน ค.ศ. ราว 250 ปี
· โจวตะวันออก (東周) ปี 770 – 256 ก่อน ค.ศ. ราว 515 ปี
· ราชวง· ศ์ฉิน (秦) ปี 221 – 207 ก่อน ค.ศ. รวม 15 ปี
· ราชวง· ศ์ฮั่น (漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220 รวม 422 ปี แยกได้เป็น
· ฮั่นตะวันตก (西漢) ปี 202 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 8 รวม 210 ปี
· ซิน (新) ค.ศ. 9 – 23 รวม 15 ปี
· ฮั่นตะวันออก (東漢) ค.ศ. 25 - 220 รวม 196 ปี
· ยุคสามก๊ก (三國) ค.ศ. 220 – 265 รวม 46 ปี แยกได้เป็น
· เว่ย (魏) ค.ศ. 220 – 265
· สู่ (蜀) ค.ศ. 221 – 263
· อู๋ (吳) ค.ศ. 229 – 280
· ราชวง· ศ์จิ้น (晉)ค.ศ. 265 – 420 รวม 156 ปี แยกได้เป็น
· จิ้นตะวันตก (西晉)ค.ศ. 265 – 316 รวม 52 ปี
· จิ้นตะวันออก (東晉)ค.ศ. 317 – 420 รวม 103 ปี
· ยุคราชวง· ศ์ใต้ และเหนือ (南朝 - 北朝)ค.ศ. 420 – 589 รวม 170 ปี แยกได้เป็น
· ยุคราชวง· ศ์ใต้ แยกย่อยได้เป็น
· ซ่ง· (宋)ค.ศ. 420 – 479
· ฉี (齊) ค.ศ. 479 – 502
· เหลียง· (梁)ค.ศ. 502 – 557
· เฉิน (陳)ค.ศ. 557 – 589
· ยุคราชวง· ศ์เหนือ แยกย่อยได้เป็น
· เว่ยเหนือ (北魏) ค.ศ. 386 – 534
· เว่ยตะวันออก (東魏)ค.ศ. 534 – 550
· เว่ยตะวันตก (西魏)ค.ศ. 535 – 556
· ฉีเหนือ (北齊)ค.ศ. 550 – 557
· โจวเหนือ (北周) ค.ศ. 557 – 581
· ราชวง· ศ์สุย (隋)ค.ศ. 581 – 618 รวม 38 ปี
· ราชวง· ศ์ถัง· (唐)ค.ศ. 618 – 907 รวม 290 ปี
· ยุค 5 ราชวง· ศ์ (五代) และยุค 10 แคว้น (十國)ค.ศ. 907 – 960 รวม 54 ปี แยกได้เป็น
· ยุค 5 ราชวง· ศ์
· โฮ่วเหลียง· (後梁) ค.ศ. 907 – 923
· โฮ่วถัง· (後唐) ค.ศ. 923 – 936
· โฮ่วจิ้น (後晉) ค.ศ. 936 – 946
· โฮ่วฮั่น (後漢) ค.ศ. 947 – 950
· โฮ่วโจว (後周) ค.ศ. 951 – 960
· ยุค 10 แคว้น
· อู๋ (吳)ค.ศ. 902 – 937
· ถัง· ใต้ (南唐) ค.ศ. 937 – 975
· เฉียนสู (前蜀) ค.ศ. 907 – 925
· โฮ่วสู (後蜀) ค.ศ. 934 – 965
· อู๋เยี่ยว์ (吳越) ค.ศ. 907 – 978
· ฉู่ (楚)ค.ศ. 926 – 951
· หมิ่น (閩)ค.ศ. 909 – 945
· ฮั่นใต้ (南唐)ค.ศ. 937 – 975
· ผิง· ใต้ (南平) หรือ จิง· หนาน (荊南)ค.ศ. 924 – 963
· ฮั่นเหนือ (北漢) ค.ศ. 951 – 979
· ราชวง· ศ์ซ่ง· (宋) ค.ศ. 960 – 1279 รวม 320 ปี แยกได้เป็น
· ซ่ง· เหนือ (北宋) ค.ศ. 960 – 1127 รวม 168 ปี
· ซ่ง· ใต้ (南宋) ค.ศ. 1127 – 1279 รวม 153 ปี
· ราชวง· ศ์หยวน (元) ค.ศ. 1271 – 1368 รวม 98 ปี
· ราชวง· ศ์หมิง· (明) ค.ศ. 1368 – 1644 รวม 277 ปี
· ราชวง· ศ์ชิง· (清) ค.ศ. 1644 – 1912 รวม 267 ปี
ขตพื้นที่และสภาพแวดล้อม
แผนกการเมืองตามประวัติศาสตร์
เขตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน
แผนกการเมืองระดับบนสุดของจีนได้ดัดแปลงเป็นการบริหารที่เปลี่ยนแปลงระดับบนสุดที่รวมถึง วงจรและจังหวัดข้างล่างจังหวัดนั้นที่นั่นได้คือหน่วยงาน เขต และจังหวัด แผนกเมื่อไม่นานยังรวมถึง อำนาจหน้าที่เขตปกครอง - เมืองระดับ เมืองระดับจังหวัด เมืองและ โดยทั่วไปราชวงศ์จีนส่วนมากถูกในยอดยกมา heartlands ของจีนรู้เป็นจีนเหมาะสมราชวงศ์ต่างๆยังขยายเข้าไปในเขตพื้นที่อุปกรณ์เสริมชอบภายใน มองโกเลีย แมนจูเรีย ซินเจียง และทิเบต ราชวงศ์ชิง ที่ชาวแมนจูตั้งและผู้สืบทอด สาธารณรัฐจีน และ สาธารณรัฐประชาชนจีนรวบรวมเขตพื้นที่เหล่านี้เข้าไปในจีนจีนเหมาะสมถูกคิดให้ถูกโดยกำแพงที่ยิ่งใหญ่และขอบของ ที่ราบสูง ชาวทิเบต แมนจูเรีย และภายใน มองโกเลีย ถูกค้นพบเพื่อทิศเหนือของกำแพงที่ยิ่งใหญ่ของจีนและแนวแบ่งเขตระหว่างพวกเขาสามารถอันใดอันหนึ่งถูกใช้เป็นพรมแดนของขวัญระหว่างภายในมองโกเลีย
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์สาธารณรัฐประชาชนจีน
ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออก บนฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก มีพื้นที่ดินประมาณ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากรัสเซียและแคนาดาประเทศจีนมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่างๆ ถึง 15 ประเทศ ด้วยมีความยาวถึง 22,800 กม. ข้ามทะเลไปทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้มี เกาหลี ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
แผ่นดินใหญ่จีนถูกขนาบทางตะวันออกไปทางใต้ด้วยทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ โดยมีพื้นที่น้ำรวม 4.73 ล้านตาราง กิโลเมตร ทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้ เป็นส่วนประกอบของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีเกาะเล็กเกาะน้อยถึง 5,400 เกาะ จึงทำให้ประเทศจีนมีอาณาเขตทางทะเลที่ใหญ่มาก เกาะที่ใหญ่ที่สุดมีเนื้อที่ 36,000 ตาราง กิโลเมตร คือ ไต้หวัน ตามด้วยเกาะไหหลำ 34,000 ตาราง กิโลเมตร เกาะ Diaoyu กับเกาะ Chiwei ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเกาะไต้หวันเป็นเกาะตะวันออกสุดของจีนเกาะน้อยใหญ่ รวมถึงหินโสโครก และ ฝูงปลา ในทะเลจีนใต้ เป็นที่รู้จักกันว่า เป็นหมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งแบ่งออกเป็นตงชา ซีชา จงชา และหนานชา รวม 4 กลุ่ม
พื้นที่ทางด้านตะวันตกของจีนเป็นแนวเทือกเขาสูงชันและที่ราบสูงทิเบต มีเทือกเขาที่สำคัญคือเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมีจุดสูงสุดคือยอดเขาเอเวอเรสต์ ทางด้านเหนือของที่ราบสูงเป็นที่ราบแอ่งกระทะขนาดใหญ่คือแอ่งทาลิมซึ่งเป็นพื้นที่ที่แห้งแล้งมาก เป็นที่ตั้งของทะเลทรายอาทากามา ส่วนแม่น้ำที่สำคัญในประเทศจีนและมีต้นกำเนิดในประเทศจีนได้แก่ แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง แม่น้ำสาละวิน
ภูมิอากาศ
สาธารณรัฐประชาชนจีนมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมภาคพื้นทวีปที่มีหลากหลายรูป แบบ ลมเหนือจะมีอิทธิพลสูงในฤดูหนาว ในขณะที่ลมใต้จะมีบทบาทในฤดูร้อน มีผลถึง 4 ฤดู ที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัด มีฤดูฝนปนอยู่กับฤดูร้อน ภูมิอากาศที่ซับซ้อน และหลากหลายของจีน มีผลให้สามารถแบ่งแถบอิงอุณหภูมิ กับแถบอิงความชื้นของภาคพื้นของประเทศจีนได้ คือแบ่งแถบอิงอุณหภูมิจากภาคใต้ถึงภาคเหนือเป็น แถบเส้นศูนย์สูตร ร้อนชื้น กึ่งร้อนชื้น อบอุ่น และแถบหนาวเย็น และแบ่งแถบอิงความแห้ง - ชื้น จากตะวันออกเฉียงใต้ ถึงตะวันตกเฉียงเหนือเป็นแถบความชื้นสูง
Zhonghua Renmin Gongheguo คือ ชื่อเป็นทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน คนทั่วไปมักจะเรียกกันสั้นๆ ว่า "จงกั๋ว" ซึ่งแปลว่า "อาณาจักรกลาง"
ที่ตั้ง จีนตั้งอยู่บนทวีปเอเชียตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศต่างๆ โดยรอบ 15 ประเทศ คือ เกาหลีเหนือ รัสเซีย มองโกเลีย คาซัคสถาน เคอร์กิชสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม ภูฐาน พม่า ลาว และเวียดนาม ขณะที่ทิศตะวันออกและทิศใต้จดทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวันออก และทะเลจีนใต้
พื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในโลกรองจากประเทศ รัสเซีย และแคนาดา พรมแดนทางบกของจีนมีความยาว 28,000 กิโลเมตร และมีชายฝั่งทะเลยาว 18,000 กิโลเมตร เกาะที่ใหญ่ที่สุด ในบรรดาเกาะน้อยใหญ่ทั้งหมด 6,536 เกาะ คือเกาะไต้หวันและไห่หนาน เมืองหลวงคือ ปักกิ่ง
เมืองหลวง กรุงปักกิ่งหรือเป่ยจิง (ภาษาราชการจีนเรียกว่า “เป่ยจิง” - Beijing ) มีประชากร ประมาณ 30 ล้านคน
หอบูชาฟ้า ในวัดแห่งสวรรค์ในกรุงเป่ยจิง ( ปักกิ่ง ) เป็นสัญลักษณ์แทนความเป็นศูนย์กลางของจีนในพิภพนี้
ประชากร ประมาณ 1,300 ล้านคน มีประชากรมาก เป็นอันดับหนึ่งของโลก 93% เป็นชาวฮั่น ส่วนที่เหลือ 7% เป็นชนกลุ่มน้อย ได้แก่ ชนเผ่าจ้วง หุย อุยกูร์ หยี ทิเบต แม้ว แมนจู มองโกล ไตหรือไท เกาซัน รัฐบาลจีนมีนโยบายเพื่อควบคุมจำนวนประชากรชาวฮั่น ซึ่งครอบครัวหนึ่ง ควรมีบุตรเพียงหนึ่งคนเท่านั้น นโยบายนี้ไม่ได้บังคับใช้ในชนกลุ่มน้อย
วัฒนธรรมจีน การเรียกชื่อสกุลของชาวจีนตรงกันข้ามกับภาษาไทย คือเรียกต้นด้วยชื่อสกุล ชื่อตัวใช้เรียกกันในหมู่ญาติ และเพื่อนสนิท
โดยปกติชาวจีนมักไม่ทักทาย ด้วยการจับมือหรือจูบเพื่อร่ำลา
สิ่งสำคัญอีกอย่างคือ ชาวจีนมีเครือข่ายคนรู้จัก ( เหมือนกับการมีเส้นสายในไทย ) กล่าวกันว่าชาวจีนที่ไร้เครือข่ายคนรู้จัก เป็นผู้ที่เป็นจีนเพียงครึ่งเดียว จึงจำเป็นต้องทำความรู้จักกับผู้คนชาวต่างชาติ ซึ่งทำธุรกิจในประเทศจีน ดังนั้นควรให้ความสำคัญต่อวัฒนธรรมนี้ด้วยการเชื้อเชิญ
ภาษา แมนดารินเป็นภาษาราชการ และมีภาษาท้องถิ่นอีกจำนวนมาก เช่น ภาษากวางตุ้ง แต้จิ๋ว เซี่ยงไฮ้ แคะ ฮกเกี้ยน เสฉวน หูหนาน ไหหลำ เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้อักษรจีนแบบย่อ (Simplified Chinese) มีอักษรทั้งหมด 56,000 ตัว ใช้ประจำ 6,763 ตัว ถ้ารู้เพียง 3,000 ตัว ก็อ่านหนังสือพิมพ์และทั่วไปได้
ประวัติศาสตร์ กว่า 4,000 - 5,000 ปี ช่วง 3,500 ปี เป็นยุคประวัติศาสตร์ราชวงศ์แรกสุดคือ ราชวงศ์เซี่ย ราชวงศ์สำคัญของจีน เช่น ฉิน ฮั่นถัง ซ่ง จีนปกครองแบบสาธารณรัฐเมื่อ ค.ศ. 1911 และเป็นคอมมิวนิสต์เมื่อ ค.ศ. 1949
ภูมิอากาศ พื้นที่ภาคเหนือมี 4 ฤดู แห้งและหนาวเย็นในหน้าหนาว ร้อนอบอ้าวในหน้าร้อน ตอนใต้มีอากาศแบบร้อนชื้น ซึ่งอากาศจะแตกต่างกันตามภูมิประเทศ
ภูมิประเทศ ส่วนที่ใหญ่ที่สุดของจีนอยู่ในเขตอบอุ่น ซึ่งมีฤดูกาลที่แตกต่างกันไป ทางตะวันตกส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ทะเลทราย และที่ราบสูง และค่อยๆ ลาดลงทางทิศตะวันออก
ธงชาติ รูปดาวสีเหลือง 5 ดวงบนพื้นสีแดง (ดาวดวงใหญ่หมายถึงพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งเป็นผู้นำ ดาวเล็กๆ ทั้งสี่ดวงหมายถึง “ชนชั้น” ที่ประกอบขึ้นเป็นสังคมจีน คือ ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นชาวนา ชนชั้นนายทุนน้อย และชนชั้นนายทุนแห่งชาติ)
เขตการปกครอง การปกครองส่วนกลางแบ่งออกเป็น 23 มณฑล (รวมถึงไต้หวัน) , 5 เขตปกครองตนเอง (มองโกเลีย หนิงเซี่ย ซินเจียง กวางสี และทิเบต) , 4 มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เทียนจิน และฉงชิ่ง และ 2 เขตบริหารพิเศษ (ฮ่องกง และมาเก๊า)
ศาสนาและความเชื่อ
ในสมัยโบราณ จีนนับเป็นดินแดนที่มีศาสนาและปรัชญารุ่งเรืองเฟื่องฟูอยู่มากมาย โดยลัทธิความเชื่อเดิม นั้นมีอยู่สองอย่างคือ ลัทธิเต๋าและลัทธิขงจื๊อ ซึ่งเน้นหลักจริยธรรมมากกว่าที่ จะเป็น หลักศาสนาที่แท้จริง ส่วนพุทธศาสนานั้น จีนเพิ่งรับมาจากอินเดียในช่วงคริสต์ศตวรรษแรกนี้เท่านั้น ครั้นมาถึงยุคคอมมิวนิสต์ ศาสนากลับถูกว่าเป็นปฎิปักษ์ต่อลัทธิทางการเมืองโดยตรง แต่ในช่วงหลังๆ นี้ทางการก็ได้ยอมผ่อนปรนให้ กับการนับถือศาสนาและความเชื่อต่างๆ ของประชาชนมากขึ้นอีกครั้ง ลักธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ( ในเขตตะวันตกของจีน ) และศาสนาคริสต์จึงได้กลับมาเฟื่องฟูขึ้นอีกครั้ง นอกจากนี้ชาวจีน ยังเชื่อถือในเรื่องตัวเลขนำโชคหมอดู และการพยากรณ์กันมาตั้งแต่ครั้งโบร่ำโบราณ เฟินสุ่ยและตัวเลขนำโชค
แนวคิดเรื่องพรหมลิขิตของจีนเริ่มมีขึ้นในยุคสังคมศักดินาที่ผู้คนเชื่อกันว่า " เทพเจ้า " ( จักรพรรดิ ) สามารถตัดสินชะตาของคนได้ แต่เมื่อเกิดกบฏโค่นล้มราชวงค์ลงได้สำเร็จ ความเชื่อที่ว่าจักรพรรดิ เป็นผู้ไร้เทียมทานก็พลอยดับสูญไปด้วย ประชาชนได้หันมาบูชาม้าและวัว จนนำไปสู่การสังเกตุเห็นว่า เป็นรูปร่าง ขน และสีผิวที่ต่างกันย่อมส่งผลให้สัตว์แต่ละประเภทมีความสามารถ อารมณ์ อายุที่ยืนยาวแตกต่างกันไป สุดท้ายจึงหันมาสังเกตุดูลักษณะของคนด้วยกันเองบ้าง
เฟิงสุ่ย ( ฮวงจุ้ย/น้ำและลม ) เป็นศาสตร์แห่งการพยากรณ์ที่มีมาแต่โบราณ ใช้ดึงดูดโชคลาภและปัดเป่า เคราะห์ร้ายนานา ผู้เชื่อถือศาสตร์นี้จะไปขอคำแนะนำจากอาจารย์ดูเฟินสุ่ยทุกเรื่อง ทั้งการออกแบบ หาฤกษ์ยาม การตกแต่งบ้านหรือสำนักงาน เป็นต้น
อาจารย์ดูเฟินสุ่ยส่วนใหญ่จะเชื่ยวชาญการดูโหงวเฮ้ง ดูลายมือ ดูดวงจากวันเดือนปีเกิด และเวลาตกฟากด้วย นักปรัชญจีนในสมัยราชวงค์ฮั่น ได้คิดค้นระบบ 12 นักษัตร อันประกอบด้วย ปีชวด ฉลู ขาล เถาะ มะโรง มะเส็ง มะเมีย มะแม วอก ระกา จอ กุนขึ้น โดยแบ่งคนออกเป็น 12 กลุ่มตามปีเกิด และนำเอาหลักปรัชญากับตัวเลขมาคิดคำนวณเพื่อพยากรณ์โชคเคราะห์ และอนาคตของบุคคล เช่น เลขสองหมายถึงความสบาย เลขสามคือชีวิตหรือการให้กำเนิดบุตร เลขหกคือการมีอายุยืน เลขแปดคือความมั่งคั่งร่ำรวย เลขเก้าคือความเป็นนิรันดร์ เมื่อนำตัวเลขมารวมกันก็จะได้ความหมายที่แตกต่างกันออกไป เช่น 163 หมายถึง "การมีอายุยืนยาว" หรือ "การมีลูกดก" เป็นต้น
เงินตรา
สกุลเงินของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนคือเงินเหยินหมินปี้ ( Renminbi แปลตามตัวว่าเงินของประชาชน ) มักใช้ตัวย่อ RMB หน่วยเงินของจีนเรียกว่าหยวน ( yuan ) หนึ่งหยวนมีสิบเจี่ยว ( jiao ) หนึ่งเจี่ยวมีสิบเฟิน ( fen ) 100 เฟินเท่ากับหนึ่งหยวน ธนบัตรแบ่งออกเป็นใบละ 1 หยวน , 5 เจี่ยว , 1,2 และ 5 เฟิน
เฟินเป็นหน่วยเล็กสุด < เจี่ยวหรือเหมาเป็นหลักสิบ < จากนั้นเป็นหยวน
วันหยุดนักขัตฤกษ์
งานเทศกาลพื้นบ้านของจีน เช่น เทศกาลตรุษจีนจะถือเอาวันตามปฏิทินทางจันทรคติเป็นหลัก ดังนั้นวันที่มีการจัดงานเทศกาลดังกล่าวขึ้นจึงเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ไม่เคยตรงกันเลยในแต่ละปี ส่วนวันหยุดราชการนั้นจะถือเอาวันตามปฏิทินของทางตะวันตกเป็นหลัก
1 มกราคม : วันขึ้นปีใหม่
กุมภาพันธ์ : วันตรุษจีน ( กำหนดวันในแต่ละปีไม่ตรงกัน )
8 มีนาคม : วันสตรีสากล
1 พฤษภาคม : วันแรงงานสากล
4 พฤษภาคม : วันเยาวชน
1 มิถุนายน : วันเด็ก
1 กรกฎาคม : วันก่อตั้งพรรคคอมมินิสต์
1 สิงหาคม : วันก่อตั้งกองทัพปลดปล่อยประชาชน
1 ตุลาคม : วันชาติ (สาธารณรัฐประชาชนจีนได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์ จีนมีชัยชนะในสงครามกลางเมืองเหนือพรรคก๊กหมินตั๋ง)
ศิลปะและงานหัตถกรรม ประวัติศาสตร์อันยาวนานและความภูมิใจในอารยธรรมของตน ส่งผลให้จีนพัฒนา และสร้างงานศิลปะหัตถกรรมที่งดงาม อันทรงคุณค่ายิ่ง
ประวัติศาสตรศิลปะจีน
ประเทศจีนมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่ตอเนื่องยาวนานนับตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร จนถึงสมัย
ราชวงศซึ่งในสมัยราชวงศศิลปวัฒนธรรมจีนไดแพรเขาไปในญี่ปุน เกาหลีและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประวัติ
ศาสตรศิลปะจีนแบงออกเปน 2 ยุคสมัยโดยกวาง คือ สมัยกอนประวัติศาสตร และสมัยประวัติศาสตร
สมัยกอนประวัติศาสตร
ดินแดนจีนเปนพื้นที่พบหลักฐานของมนุษยตั้งแตยุดกอนประวัติศาสตรนับตั้งแตสมัยหินเกา รองรอยที่
สําคัญ คือ มนุษยปกกิ่ง มนุษยแลนเทียน และมีพัฒนาการเขาสูยุคสมัยของการตั้งถิ่นฐานที่สาคัญในสมัยหิน ใหมคือ พบรองรอยของวัฒนธรรมยางเชา (Yang Shao) และวัฒนธรรมลุงชาน (Lung Shan)
1. วัฒนธรรมยางเชา (Yang Shao Culture) มีอายุประมาณ 3,000-2,000 ปกอนพุทธศักราช วัฒนธรรมยาง
เชาจัดอยูในสมัยหินใหมกอนยุคราชวงศ ซึ่งเปนชวงการตั้งถิ่นฐานระยะแรกทางภาคเหนือของจีนหลักฐานทาง
โบราณคดีที่สําคัญคือ การทําภาชนะดินเผาเขียนสีแดง เปนวัฒนธรรมของการใชเครื่องมือหินขัด และเปน
สังคมเกษตรกรรมยุคแรกที่คนพบในประเทศจีน
2. วัฒนธรรมลุงชาน (Lung Shan Culture) ประมาณ 2,500-2,000 ปกอนพุทธศักราช วัฒนธรรมลุงชานเปน
วัฒนธรรมสมัยหินใหมสังคมเกษตรกรรมที่มีความซับซอนซึ่งพบทางภาคกลางและภาคใตของประเทศจีน หลัก
ฐานทางโบราณคดีที่สําคัญคือเครื่องมือหินขัด ภาชนะดินเผาเปนแบบสีดําขัดมัน และภาชนะดินเผาที่มี 3 ขา
สมัยประวัตศาสตร
1. สมัยราชวงศชาง (Shang Dynasty) 2,200-1,900 ปกอนพุทธศักราช นักโบราณคดีคนพบสุสาน
สมัยราชวงศชาง มีการใชเครื่องมือโลหะสําริด เครื่องปนดินเผาสีขาวเนื้อแกรง เครื่องหยก อาวุธสงครามที่ทํา
จากสําริด
2. สมัยราชวงศโจวหรือจิว (Chou Dynasty) 1,600-774 ปกอนพุทธศักราช เปนยุคแหงความรุงเรืองของโลหะสําริด
การขุดคนทางโบราณคดีที่มณฑลเหอนานไดคนพบเครื่องใชสําริดเปนจํานวนมาก บนภาชนะสําริดมีการฝงเสนทอง เสนเงิน
พลอยสีฟา และแกวผลึก มีโลหะที่มีคาเชน ทองคํา เงิน แกว และอัญมณีตาง ๆ
3. สมัยราชวงศฉิน (Ch’in Dynasty) 764-749 ปกอนพุทธศักราช ยุคสมัยของเจาผูครองนครที่ตั้งตน
เปนกษัตริยฉิน สื่อ หวงตี่ สิ่งกอสรางที่สําคัญสมัยนี้คือ กําแพงเมืองจีนและประติมากรรมดินเผาที่เปนรูปทหาร
ขนาดใหญเทาคนจริงมีรูปทหารและมาศึก จํานวนกวา 6,000 รูป ปจจุบันสุสานทหารของ ฉิน สื่อ หวงตี่ (จิ๋นซี
ฮองเต) ไดเปดแสดงเปนพิพิธภัณฑกลางแจงโดยนักโบราณคดีของจีน
4. สมัยราชวงศฮั่น (Han Dynasty) 749 ปกอนพุทธศักราชถึงพุทธศักราช 763 หลักฐานที่พบสวนใหญเปน
สุสานในสมัยราชวงศนี้ มีสิ่งของที่พบกับผูตายเชน เครื่องปนดินเผา เครื่องใชสําริด เครื่องเงิน เครื่องทอง และ
ผาไหม ที่สุสานของเจาชายหลิวเซ็ง ไดคนพบชุดหยกของเจาชายหลิวเซ็งและเจาหญิงตูหวั่น ในสุสานตาง ๆ
คนพบจิตรกรรมฝาผนัง เชน ภาพมังกรและขุนเขาที่สุสาน เซาหยวนจุน ยุคนี้เปนสมัยรุงเรืองของเครื่องใชโลหะ
หยก และผาไหม
5.สมัยราชวงศจิ้น (Tsin Dynasty) พ.ศ.808-963 ยุคของการแตกแยกและเสื่อมโทรม ประเทศจีนแบงออก
เปนกกตาง ๆ แตละกกตั้งตนเองเปนราชวงศ เรียกวา สมัย 16 ราชอาณาจักร
6. สมัยราชวงศเหนือราชวงศใต พ.ศ. 960 - 1124 พุทธศาสนาเริ่มเขาสูประเทศจีน ประติมากรรมทางพุทธ
ศาสนาเกิดขึ้นในชวงสมัยนี้ มีท้งที่สลักแบบนูนต่ําบนศิลาทราย และประติมากรรมลอยตัวเปนยุคของความรุง
ั
เรืองพบดานจิตรกรรม มีพระพุทธประติมากรรมที่หลอดวยโลหะสําริด พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานเริ่ม
ปรากฏในจีนชวงนี้ พบถ้ําหลายแหงที่มีพระพุทธรูปและรูปพระโพธิสัตว
7. สมัยราชวงศสุย (Sui Dynasty) พ.ศ.1124-1161 หลังการสิ้นสุดความแตกแยกขุนนางสมัยราชวงศโจว
ทางเหนือ สถาปนาราชวงศสุยขึ้น มีการหลอพระพุทธรูปสําริด และงานจิตรกรรมที่สืบทอดมาตั้งแตสมัยกอน
8. สมัยราชวงศถัง (T’ang Dynasty) พ.ศ.1161-1450 ยุคสมัยของความรุงเรืองของบานเมืองจีน และพุทธ
ศาสนาในจีนก็รุงเรืองที่สุดในสมัยราชวงศนี้ ปรากฎบันทึกการเดินทางไปอินเดียของภิกษุเหี้ยนจัง(Hsuan-
tsang) มีงานจิตรกรรมที่เกี่ยวของกับพุทธศาสนาเกิดขึ้นเชนเดียวกับการสรางพระพุทธรูป เนื่องจากมีการติด
ตอกับภายนอกโดยเฉพาะกับอินเดีย ดังนี้รูปแบบของศิลปอินเดียจึงมีอิทธิพลตอประติมากรรมทางพุทธศาสนา
ของจีน
-3-
9. สมัยหาราชวงศ พ.ศ.1450-1503 สมัยที่จีนแตกแยกกันอีกครั้งหนึ่ง ภาคเหนือของจีนมีราชวงศผลัดกัน
ปกครอง 5 ราชวงศ คือ ราชวงศเหลียง ราชวงศถัง ราชวงศจ้น ราชวงศฮั่น และราชวงศโจว งานศิลปกรรมที่โดด
ิ
เดนในชวงระยะนี้คือ งานจิตรกรรม
10. สมัยราชวงศซอง (Sung Dynasty) พ.ศ.1503-1822 ยุคสมัยที่จิตรกรรมรุงเรืองมากที่สุด สวน
ประติมากรรมลดความสําคัญลงไป โดยเฉพาะประติมากรรมทางพุทธศาสนา เนื่องจากราชสํานักไมสนับสนุน
อยางจริงจัง และที่โดดเดนอีกอยางหนึ่งก็คือ เครื่องถวยพอรซเลน (Porcelain)
11. สมัยราชวงศหยวน (Yaun Daynasty) พ.ศ.1822-1911 ยุคสมัยการรุกรานของมองโกล จิตรกรรมไมได
รับการสนับสนุนจากราชวงศจึงปรากฏเฉพาะงานประติมากรรม แตการสรางรูปเคารพในทางพุทธศาสนากลับ
ไดรับอิทธิพลของลัทธิลามะของธิเบตแทนรูปแบบจากอินเดีย เครื่องถวยสมัยนี้มีทั้งพอรซเลน สโตนแวร และสี
เขียวเซลาดอน เครื่องถวยสวนใหญเขียนดวยลวดลายสีน้ํามัน
12. สมัยราชวงศหมิง (Ming Dynasty) พ.ศ.1911-2187 ยุคสมัยของการกอสรางมีการกอสรางบานเรือน
พระราชวังจักรพรรดิ์ที่อยูในกลางเมืองปกกิ่ง พระที่นั่งและวิหารเทียนถาน วนอุทยานเปยไห สุสานหมิง สุสาน
ติ้งหลิง สุสานฉางหลิง พระสถูปเจดีย สวนเครื่องเคลือบดินเผานั้นไดมีการผลิตภาชนะประเภทเซลาดอน และ
เครื่องถวยตาง ๆ สงออกขายยังตางประเทศ ภาชนะเครื่องเคลือบมีทั้งแบบภาชนะสีขาวพอรซเลนตกแตงลวด
ลายสีน้ําเงินเคลือบใสและเคลือบสีตาง ๆ
13. สมัยราชวงศชิง (Ching Dynasty) พ.ศ.2187-2454 ยุคสมัยรุงเรืองของราชวงศแมนจู สถาปตยกรรม
สวนใหญเปนการกอสรางรูปแบบตอเนื่องจากสมัยราชวงศหมิง เครื่องเคลือบดินเผาในสมัยนี้มี 2 แบบคือ การ
เคลือบแบบสีเดียวเนื้อแกรง และเครื่องเคลือบที่เขียนลวดลายหลายสี มีการปนรูปเคารพบูชา เปน
ประติมากรรมดินเผาเคลือบสีสวยงาม เชน พระโพธิสัตวกวนอิม พระโพธิสัตวปางตาง ๆ ในทางพุทธศาสนา
ศิลปะและวัฒนธรรม Art & Culture | |
|
ศิลปะและวัฒนธรรม-Art & Culture
คณะศิลปินคนพิการจีนร้องสิทธิเจ้าแม่กวนอิมพันกร
จากการแสดงของคณะศิลปินคนพิการแห่งประเทศจีนเมื่อวันตรุษจีนปีที่แล้ว ได้รับการกล่าวขานในความสวนงาม ยิ่งใหญ่อลังการจนมีการเผย
แพร่วีดีคลิปในอินเตอร์เน็ตอย่างอย่างกว้างขวาง ขณะเดียวกันรูปถ่ายที่
ถ่ายในงานแสดงนั้น ก็มีพ่อค้าหัวใสนำไปพิมพ์เป็นโปส์เตอร์โกยเงินเข้า
กระเป๋าโดยที่คณะศิลปินคนพิการไม่ได้อะไรเลย
เจ้าแม่กวนอิมเป็นพระโพธิสัตว์ที่ชาวจีนให้การเคารพนับถือ และมีการ
บูชากราบไหว้กันแทบทุกหลังคาเรือน ฉะนั้นจึงไม่น่าแปลกที่การแสดง
ชุด “เจ้าแม่กวนอิมพันกร” 千手观音 จึงเป็นที่ประทับใจและกล่าวขาน
กันอย่างแพร่หลาย สำหรับใครที่ได้รับชมวีดีโอชุดดังกล่าวแล้ว จะเห็นว่า
นอกจากเรื่องแสงสีแล้ว นอกนั้นเป็นการแสดงโดยนักแสดงล้วน ๆ โดย
ไม่มีการใช้กราฟฟิค หรืออุปกรณ์สิ่งอื่นใดช่วยเลย นอกจากนักแสดง
หลายสิบชีวิตภายใต้การกำกับของ ไต้ลี่หัว 邰丽华 ซึ่งเป็นผู้พิการ(ใบ้)เหมือนกัน
ไต้ลี่หัวขณะให้สัมภาษณ์ด้วยภาษามือ
จากความสำเร็จในครั้งนั้น ทำให้คณะศิลปินคนพิการมีชื่อเสียงกระฉ่อน
ไปทั่วประเทศจีน จนมีการแอบอ้างชื่อของ
คณะในที่ต่าง ๆ เพื่อแสดงเลียนแบบ ที่สำคัญ พวกพ่อค้าก็มีการทำภาพ
โฆษณาเลียนแบบเจ้าแม่
กวนอิมพันกร ดังเช่นรายของผู้ผลิตถุงน่อง ใช้
่ภาพเลียนแบบว่า “เจ้าแม่กวนอิมพันน่อง”
ซึ่งถือเป็นการทำลายศิลปะการแสดงของ
คณะศิลปินคนพิการลงอย่างสิ้นเชิง
ไต้ลี่หัว กล่าวว่า ต่อไปนี้คณะศิลปินคนพิ-
การจะรับงานแสดงเพื่อสาธารณะกุศลเท่า
นั้น จะไม่ขอรับงานเพื่อการค้าหรือเป็นแบบ
โฆษณาให้กับวงการค้าใด ๆ ทั้้งสิ้น
ภาพแสดงบนเวทีอันสวยสดงดงามใน
/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A71.jpgFPRIVATE "TYPE=PICT;ALT=ภาพ:ขà¸à¸™à¸‚าว1.jpg"/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A71.jpg
ชื่ออื่น : เห็ดมันมะม่วง เห็ดมัน เห็ดขอนขาว
ประโยชน์ทางอาหาร : ใช้ทั้งดอก-นำมาแกงกับปลาย่างใส่ผักชะอม นึ่งจิ้มน้ำพริก และแกงแคร่วมกับผักชนิดอื่นๆ
ประโยชน์ทางยา : ดอก-บำรุงร่างกาย ชูกำลัง แก้ไข้พิษ ช่วยระบบขัถ่ายทำงานดีขึ้น
ฤดูที่ใช้ประโยชน์ : ฤดูฝน
สภาพที่เหมาะเจริญเติบโต : เป็นเห็ดที่เกิดจากขอนไม้ ขึ้นเป็นดอกเดียวหรือเป็นกลุ่มโคนติดกัน
คุณค่าทางอาหาร เห็ดขอนขาว 100 กรัม ให้พลังงาน 48 กิโลแคลอรี น้ำ 87.5 กรัม โปรตีน 3.3 กรัม เส้นใย 3.2 กรัม ฟอสฟอรัส 163 มิลลิกรัม
ที่มา
ที่มา...ผัก 333 ชนิด คุณค่าอาหารและการกิน สำนักพิมพ์แสงแดด ธันวาคม 2548
http://www.agric-prod.mju.ac.th/web-veg/mushroom/p11.htm